พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของจังหวัดสุรินทร์ ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2517 จากความริเริ่มของนายสุธี โอบอ้อม ผู้ว่าราชการจังหวัดสุรินทร์ในขณะนั้น โดยเริ่มจากการรวบรวมโบราณวัตถุและศิลปวัตถุที่ประชาชนบริจาค
ประวัติความเป็นมา
ในช่วงแรก พิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ที่ศาลากลางจังหวัดสุรินทร์ ต่อมาย้ายไปยังอาคารสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ เนื่องจากมีการเพิ่มจำนวนโบราณวัตถุและศิลปวัตถุอย่างต่อเนื่อง พื้นที่เดิมจึงไม่เพียงพอ ในปี พ.ศ. 2535 กรมศิลปากรมีนโยบายจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประจำเมืองทั่วประเทศ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สุรินทร์ จึงได้รับการพิจารณาให้เป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ต้นแบบ
พิพิธภัณฑ์แบ่งการจัดแสดงออกเป็น 5 หัวข้อหลัก ได้แก่
อาคารพิพิธภัณฑ์ได้รับการออกแบบโดยประยุกต์จากสถาปัตยกรรมปราสาทหินในศิลปะเขมร มีลักษณะเป็นกลุ่มอาคารที่เชื่อมต่อถึงกัน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่
ข้าวอินทรีย์สุรินทร์
เราคัดสรรข้าวอินทรีย์ชั้นเยี่ยมพันธุ์ดีเพาะปลูกด้วยแนวทางเกษตร อินทรีย์ เช่น ข้าวหอมมะลิ, ข้าวกล้องหอมมะลิ, ข้าวกล้องปะกาอำปึล, ข้าวผสมห้าสายพันธุ์, ข้าวมะลินิลสุรินทร์ ข้าวไรซ์เบอรี่ และ ข้าวมะลิแดง เพาะปลูกปีละครั้งในพื้นที่จังหวัดสุรินทร์ เราใส่ใจในทุกกระบวนการเกษตรอินทรีย์ วิถีธรรมชาติ จากที่นาอินทรีย์ส่งมอบคุณค่าเพื่อสุขภาพ ข้าวอินทรีย์ 100% จากมือชาวนาสู่ผู้บริโภค
ผลิตภัณฑ์ "ข้าวเกษตรอินทรีย์สุรินทร์" ของเราได้รับมาตรฐานดังต่อไปนี้